ข่าว & กิจกรรมสาขา

ข่าวผลงานการประกวดนวัตกรรม ล่าสุด

🔴 ติดตาม ที่นี่

ขอแสดงความยินขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร. หทัยกาญจน์ เลกากาญจน์

ที่ได้เข้ารับทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากมูลนิธีโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย ในวันที่ 8 มีนาคม 2567

ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

ที่ได้รับรางวัลในงาน “วันเชิดชูเกียรตินักวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปี 2566” ณ ห้อง Concert Hall อุทยานการเรียนรู้ป๋วย 100 ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 16 กุมภาพันธ์ 2567 📌รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น ผศ. ดร. หทัยกาญจน์ เลกากาญจน์ 📌รางวัลประกาศเกียรติคุณทางด้านการวิจัยจากหน่วยงานภายนอก รศ. ดร. เทพปัญญา เจริญรัตน์ รศ. ดร. สุเปญญา จิตตพันธ์ ผศ. ดร. ทิวธวัฒ นาพิรุณ และผศ. ดร. ปาริยา ณ นคร

ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัยพัฒนาศักยภาพผลงานวิจัย (FAST TRACK) ปีงบประมาณ 2567 ครั้งที่ 2

ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร. ศรีสุดา ปัณณานุสรณ์ ที่ได้รับทุนวิจัยพัฒนาศักยภาพผลงานวิจัย (FAST TRACK) ปีงบประมาณ 2567 ครั้งที่ 2

ขอแสดงความยินขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร. หทัยกาญจน์ เลกากาญจน์

ที่ได้รับรางวัลการวิจัยแห่งชาติ 🏆รางวัลผลงานวิจัย
🥇 ระดับดีมาก เรื่อง “การคัดเลือกและค้นหาเอนไซม์ที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์จากแหล่งจุลินทรีย์ในประเทศไทย: จากความหลายทางชีวภาพสู่ต้นแบบเพื่ออุตสาหกรรม”  เนื่องใน “วันนักประดิษฐ์” ประจำปี 2567 (Thailand Inventors’ Day 2024)

ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร.ปาริยา ณ นคร และนักศึกษาปริญญาโท

ที่ได้รับรางวัล Best Oral Presentation Award ในกลุ่ม Utilization of Natural Resources โดย นางสาววันวิสาข์ ระมั่งทอง และ Best Poster Presentation Award โดย นางสาวยาโยอิ ชินโด ในงาน The 4th Thailand International Symposium on Natural History Museums: Era of Ecosystem Restoration วันที่ 21-22 ธันวาคม 2566 ณ พิพิธภัณฑ์พระราม 9 อพวช. 

ประชาสัมพันธ์หลักสูตรฯ ณ โรงเรียนวินิตศึกษาในพระราชูปภัมภ์

ทีมอาจารย์และศิษย์เก่าของสาขาฯ ได้เดินทางไปประชาสัมพันธ์หลักสูตรฯ ให้กับนักเรียนชั้น ม.ปลาย ที่โรงเรียนวินิตศึกษาในพระราชูปภัมภ์ จังหวัดลพบุรี วันที่ 8 ธันวาคม 2566

ประชาสัมพันธ์หลักสูตรฯ ณ โรงเรียนคณะราษฏร์บำรุง

ฝ่ายประชาสัมพันธ์ของสาขาฯ ได้เดินทางไปประชาสัมพันธ์หลักสูตรฯ ให้กับนักเรียนชั้น ม. 6 ที่โรงเรียนคณะราษฏร์บำรุง จังหวัดปทุมธานี วันที่ 12 กรกฎาคม 2566

ขอแสดงความยินดีกับนักศึกษาชั้นปีที่ 3 ทีม BIOT-OK

ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 รุ่นมี IDEA ในการแข่งขันประชันไอเดียสร้างสรรค์/ผลิตภัณฑ์นวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวข้อ Sci-SDGs : “The Future We Want” วันที่ 26 ธันวาคม 2566 ณ อาคาร บร.5 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัยพัฒนาศักยภาพผลงานวิจัย (FAST TRACK) ปีงบประมาณ 2567 ครั้งที่ 2

ขอแสดงความยินดีกับ อ.ดร. รัฐดา จันทร์กลั่น ที่ได้รับทุนวิจัยพัฒนาศักยภาพผลงานวิจัย (FAST TRACK) ปีงบประมาณ 2567 ครั้งที่ 2

ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัยพัฒนาศักยภาพผลงานวิจัย (FAST TRACK) ปีงบประมาณ 2566 ครั้งที่ 5

ขอแสดงความยินดีกับ รศ.ดร.เทพปัญญา เจริญรัตน์ ที่ได้รับทุนวิจัยพัฒนาศักยภาพผลงานวิจัย (FAST TRACK) ปีงบประมาณ 2566 ครั้งที่ 5

ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร. หทัยกาญจน์ เลกากาญจน์

อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ 🏆 ได้รับรางวัล “ผลงานวิจัยดีเด่น” ประจำปี 2566 จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัยพัฒนาศักยภาพผลงานวิจัย (FAST TRACK) ปีงบประมาณ 2566 ครั้งที่ 8

ขอแสดงความยินดีกับ อ.ดร.จักรกฤษ เหวชัยภูมิ ที่ได้รับทุนวิจัยพัฒนาศักยภาพผลงานวิจัย (FAST TRACK) ปีงบประมาณ 2566 ครั้งที่ 8

ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัยพัฒนาศักยภาพผลงานวิจัย (FAST TRACK) ปีงบประมาณ 2566 ครั้งที่ 3

ขอแสดงความยินดีกับอ.ดร.ธฤษวรรณ ไตรจิตต์ ที่ได้รับทุนวิจัยพัฒนาศักยภาพผลงานวิจัย (FAST TRACK) ปีงบประมาณ 2566 ครั้งที่ 3

ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัยพัฒนาศักยภาพผลงานวิจัย (FAST TRACK) ปีงบประมาณ 2566 ครั้งที่ 4

ขอแสดงความยินดีกับ รศ.ดร.สุเปญญา จิตตพันธ์ ที่ได้รับทุนวิจัยพัฒนาศักยภาพผลงานวิจัย (FAST TRACK) ปีงบประมาณ 2566 ครั้งที่ 4

เจรจาความร่วมมือกับ ICBiotech, Osaka University

วันที่ 16 สิงหาคม 2566 คณะอาจารย์และนักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ร่วมต้อนรับ Prof. Fujiyama Kazuhito ผู้แทนจากศูนย์ ICBiotech, Osaka University ซึ่งเดินทางมาเจรจาเพื่อค้นหาความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ดูรายละเอียดเพิ่มเติม ที่นี่ และ ที่นี่

ขอแสดงความยินดีกับ ฐนกร อินทร์โต บัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

ที่ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง Young Rising Stars of Science Award 2023 🥉 จากการนำเสนอผลงานทางวิชาการ ในงาน The 49th International Congress on Science, Technology and Technology-based Innovation, (STT49) วันที่ 25 มกราคม 2567 ทีมอาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. บุปผา เพชรรัตน์ ผศ.ดร. ศรีสุดา ปัณณานุสรณ์ อ.ดร. รัฐดา จันทร์กลั่น และที่ปรึกษาร่วมจากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ดร. นัฐวุฒิ บุญยืน ดร. นพพล คบหมู่ คุณสุชาดา มงคลสัมฤทธิ์

ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัยพัฒนาศักยภาพผลงานวิจัย (FAST TRACK) ปีงบประมาณ 2567 ครั้งที่ 2

ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.ดร. ชนิตโชต ปิยพิทยานันต์ ที่ได้รับทุนวิจัยพัฒนาศักยภาพผลงานวิจัย (FAST TRACK) ปีงบประมาณ 2567 ครั้งที่ 2

ขอแสดงความยินดีกับ ดารัณ โปร่งจิต นักศึกษาระดับปริญญาเอก

นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีชีวภาพและเกษตร ที่ได้รับรางวัล Best Presentation Award ใน “The 7th ASEAN Bioenergy and Bioeconomy Conference (ABB2023): Sustainable Bioresources for Green Energy and Economy Registration” วันที่ 31 สิงหาคม 2566 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพฯ

ขอแสดงความยินดีกับ ดารัณ โปร่งจิต มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ

ที่ได้รับรางวัลทะกุจิ ประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ประจำปี 2566 จาก สมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทย  เรื่อง “การศึกษาคุณสมบติและพัฒนาระบบเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการย่อยแป้งสำหรับกระบวนการไบโอรีไฟเนอรีของวัตถุดิบที่มีแป้งเป็นองค์ประกอบ”

ขอแสดงความยินดีกับ รศ.ดร.สุเปญญา จิตตพันธ์

ที่ได้รับการจดทรัพย์สินทางปัญญา ประเภทอนุสิทธิบัตร สำหรับการประดิษฐ์

ขอแสดงความยินดีกับนางสาวธนพร เตชประภาสรัตน์ นายลัทธพล เอี่ยมสมุทร และนางสาวฐนกร อินทร์โต นักศึกษาชั้นปี 4

ที่ได้รับรางวัลในการนำเสนอโปสเตอร์ โครงการสัมมนาวิชาการ (ปัญหาพิเศษ) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีการศึกษา 2565 วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ.2566 ดังนี้ 1) รางวัล Popular vote 2) รางวัลชนะเลิศหมวด Physical Science Digital and Data analysis และ 3) รางวัลชนะเลิศหมวด Environmental and Sustainability ตามลำดับ

ขอแสดงความยินดี กับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยงศักดิ์ ขจรผดุงกิตติ

สาขาวิชาฯ ขอร่วมแสดงความยินดี กับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยงศักดิ์ ขจรผดุงกิตติ ที่ได้รับการคัดเลือกเป็น “ครูดีเด่น” คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีการศึกษา 2565

ขอแสดงความยินดีกับ อรัชพร ทองโอฬาร นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ

นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ได้รับรางวัลการนำเสนอผลงานภาคบรรยาย “ระดับดีมาก” จากการประชุมวิชาการสาหร่ายและแพลงก์ตอนระดับชาติครั้งที่ 10 ซึ่งผลงานวิจัยนี้อยู่ภายใต้การดูแลของ รศ.ดร.สุเปญญา จิตตพันธ์ ผศ.ดร.ทิวธวัฒ นาพิรุณ อ.ภูภิภัทร ใจแก้ว และทีมวิจัยร่วมจากสถาบันอื่น

ไฮไลต์เทคโนโลยีชีวภาพ

TU-RAC ชวนอ่านบทความ

โดย รศ.ดร.สุเปญญา จิตตพันธ์ และนางสาวอรัชพร ทองโอฬาร 📍เรื่อง สาหร่ายทะเล กับขุมทรัพย์เครื่องสำอางสามแสนล้าน ในหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ และกรุงเทพธุรกิจออนไลน์ วันที่ 9 มีนาคม 2567 คลิกเพื่ออ่านบทความ

TU-RAC ชวนอ่านบทความ

โดย อ.ดร. จตุพล พลไธสง📍เรื่อง ดีเอ็นเอขยะ เพื่อมนุษยชาติ ในคอลัมน์ Now and Beyond by TU-RAC หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ และกรุงเทพธุรกิจออนไลน์ วันที่ 10 มีนาคม 2567 คลิกเพื่ออ่านบทความ

TU-RAC ชวนอ่านบทความ

โดย รศ.ดร. เทพปัญญา เจริญรัตน์ และนายชัชชล กองสินแก้ว📍เรื่อง “แคโรทีนอยด์” ขุมทองจากสีสันธรรมชาติ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2567 คลิกเพื่ออ่านบทความ

TU-RAC ชวนอ่านบทความ

โดย รศ.ดร. สุดาทิพย์ จันทร📍เรื่อง เอนไซม์กับไฮโซสัตว์เลี้ยง เผยแพร่ในคอลัมน์ Now and Beyond by TU-RAC ในหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ และกรุงเทพธุรกิจออนไลน์ วันที่ 19 มกราคม 2567 คลิกเพื่ออ่านบทความ

TU-RAC ชวนอ่านบทความ

โดย ผศ.ดร.ยงศักดิ์ ขจรผดุงกิตติ📍เรื่อง มหัศจรรย์การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เผยแพร่ในคอลัมน์ Now and Beyond by TU-RAC ในหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ และกรุงเทพธุรกิจออนไลน์ วันที่ 27 กันยายน 2566 คลิกเพื่ออ่านบทความ

TU-RAC ชวนอ่านบทความ

โดย ผศ.ดร.ทิวธวัฒ นาพิรุณ📍เรื่อง พระเอกพืชสมุนไพรไทย จากยาดมถึงสารสกัดมูลค่าสูง เผยแพร่ในคอลัมน์ Now and Beyond by TU-RAC ในหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ และกรุงเทพธุรกิจออนไลน์ วันที่ 16 กันยายน 2566 คลิกเพื่ออ่านบทความ

TU-RAC ชวนอ่านบทความ

📍เรื่อง จัดการอัลไซเมอร์ ด้วยชีวสารสนเทศศาสตร์ ความหวังของสังคมสูงวัย โดย อาจารย์ภูภิภัทร ใจแก้ว สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (TU-RAC) คลิกเพื่ออ่านบทความ

TU-RAC ชวนอ่านบทความ

โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจนจรีย์ อินอุทัย 📍เรื่อง สิ่งเล็ก ๆ ที่เรียกว่า “มอสส์” กับเศรษฐกิจบีซีจี ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ และกรุงเทพธุรกิจออนไลน์ ฉบับวันที่ 12 เมษายน 2566 คลิกเพื่ออ่านบทความ

TU-RAC ชวนอ่านบทความ

โดย รศ.ดร.เทพปัญญา เจริญรัตน์ และ รศ.ดร.สร้อยสุดา พรภักดีวัฒนา📍 เรื่อง SCOBY คอมบูชา และเงินในกระเป๋า  ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ และกรุงเทพธุรกิจออนไลน์ ฉบับวันที่ 5 เมษายน 2566 คลิกเพื่ออ่านบทความ

TU-RAC ชวนอ่านบทความ

โดย รศ.ดร.สุดาทิพย์ จันทร📍เรื่อง พรีไบโอติก โพรไบโอติก และ บีซีจี เกี่ยวกันอย่างไร? ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ และกรุงเทพธุรกิจออนไลน์ ฉบับวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2566 คลิกเพื่ออ่านบทความ

SCI+BUSINESS

นวัตกรรมสร้างสรรค์ผสมผสานองค์ความรู้หลายศาสตร์ มาต่อยอดเป็นผลงานที่มีประโยชน์ในวงกว้างตอบโจทย์ความต้องการ และมีมูลค่าเชิงพาณิชย์

SCI+LIFE

ผลงานวิจัยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาตอบโจทย์เรื่องพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ผู้คนในสังคมไทย

PURE SCIENCE

งานวิจัยศึกษาค้นคว้าด้านวิทยาศาสตร์ธรรมชาติขั้นสูง เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ขั้นแนวหน้าในศาสตร์วิทยาศาสตร์ด้านต่างๆ